ความเป็นมาของอาหารไทย4ภาค สูตรวิธีทำอาหารไทย4ภาคเป็นอย่างไรทั้งอาหารภาคเหนือ อาหารภาคอีสาน อาหารไทยภาคใต้และภาคกลางพร้อมคุณได้เรียนรู้กับเมนูอาหารไทยขึ้นชื่อ 4 ภาค
ศิลปะและวัฒนธรรมไทย เป็นที่ยอมรับไปทั่วโลก ด้วยความสวยงามวิจิตรบรรจง ความประณีต และ
พิถีพิถัน อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เช่นเดียวกับอาหารไทย ซึ่งมีรสชาติหลากหลายแม้แต่ในจานเดียวกันอย่างลงตัว
จึงเป็นที่นิยมของคนไปทั่วโลก อีกทั้งยังมีคุณค่าทางโภชนาการให้สรรพคุณทางยาและสมุนไพรที่สะท้อนให้เห็น
อัตลักษณ์ภูมิปัญญาของแต่ละภูมิภาคได้เป็นอย่างดี
อาหารไทยแบ่งตามลักษณะภูมิศาสตร์เป็น ๔ ภาค ได้แก่ อาหารภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ และ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ละภาคมีอัตลักษณ์ที่แตกต่างกันไป ตามวิถีชีวิตวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี
ตลอดจนความแตกต่างของแหล่งอาหารและวัตถุดิบจากความอุดมสมบูรณ์ในพื้นที่ทั้ง ๔ ภาคของประเทศไทย
จนไปถึงอิทธิพลที่ได้รับจากอาหารต่างชาติและผู้คนที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาอยู่อาศัยในแต่ละพื้นที่
คนไทยในสมัยก่อนมักใช้พืช ผัก ผลไม้ ราก เหง้าต้นไม้ วัตถุดิบที่หาได้ในท้องถิ่นมาปรุงเป็นอาหารให้มี รสชาติอรอ่ ย ถูกปาก และเมื่อไดบ้ รโิ ภคแลว้ มสี ุขภาพแขง็ แรง และชว่ ยปอ้ งกันโรคบางโรคได ้ เปน็ สมุนไพร อาหารไทย นอกจากมีรสชาติอร่อย กลมกล่อม หลากหลายรส แต่ยังมีอัตลักษณ์ที่บ่งบอกถึงวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของคนไทย ในภูมิภาคนั้น ๆ อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวเอง และด้วยภูมิปัญญาอาหารไทยจึงได้มีความสมดุลทางโภชนาการ ไม่ว่าจะกินข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียวเป็นหลักตามแต่ละภาค บางภาคกินข้าวซ้อมมือที่มีคุณค่าทางอาหารสูง และกับข้าว ที่อยู่ในสำรับข้าวจะปรุงอย่างเรียบง่าย เช่น ต้ม ยำ ตำ แกง ปิ้ง เผา ผัด คั่ว ย่าง จะไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยาก สลับซับซ้อนและใช้เวลาในการทำน้อย จึงทำให้อาหารมีความสด ใหม่ หอม หวาน และใช้นํ้ามันน้อย และใช้เนื้อสัตว์ ในการปรุงอาหารไม่มากแต่จะใช้พืชผักพื้นบ้านเป็นหลักโดยได้แหล่งโปรตีนจากธรรมชาติ เช่น ทะเล แม่นํ้า ลำคลอง หรือการเลี้ยงสัตว์ในท้องถิ่น เครื่องปรุงล้วนเป็นพืชผักในท้องถิ่นและสมุนไพรในท้องถิ่น ด้วยวัตถุดิบจากธรรมชาติ ที่แตกต่างกันในแต่ละภาค อีกทั้งวิธีการปรุงที่แตกต่างกันในรายละเอียดทำให้เกิดความหลากหลาย แต่ก็ยังมี ความคล้ายคลึงกัน เช่น ภาคเหนือ ใช้ถั่วเน่า ภาคกลาง ใช้กะปิและนํ้าปลา ภาคใต้ ใช้กะปิและเกลือ สำหรับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้ปลาร้า ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับภูมิภาคนั้น ๆ ด้วย
ประวัติเมนูอาหารไทย 4ภาค |
ประวัติความเป็นมาอาหารไทย 4 ภาค
ศิลปะและวัฒนธรรมไทย เป็นที่ยอมรับไปทั่วโลก ด้วยความสวยงามวิจิตรบรรจง ความประณีต และ
พิถีพิถัน อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เช่นเดียวกับอาหารไทย ซึ่งมีรสชาติหลากหลายแม้แต่ในจานเดียวกันอย่างลงตัว
จึงเป็นที่นิยมของคนไปทั่วโลก อีกทั้งยังมีคุณค่าทางโภชนาการให้สรรพคุณทางยาและสมุนไพรที่สะท้อนให้เห็น
อัตลักษณ์ภูมิปัญญาของแต่ละภูมิภาคได้เป็นอย่างดี
อาหารไทยแบ่งตามลักษณะภูมิศาสตร์เป็น ๔ ภาค ได้แก่ อาหารภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ และ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ละภาคมีอัตลักษณ์ที่แตกต่างกันไป ตามวิถีชีวิตวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี
ตลอดจนความแตกต่างของแหล่งอาหารและวัตถุดิบจากความอุดมสมบูรณ์ในพื้นที่ทั้ง ๔ ภาคของประเทศไทย
จนไปถึงอิทธิพลที่ได้รับจากอาหารต่างชาติและผู้คนที่ย้ายถิ่นฐานเข้ามาอยู่อาศัยในแต่ละพื้นที่คนไทยในสมัยก่อนมักใช้พืช ผัก ผลไม้ ราก เหง้าต้นไม้ วัตถุดิบที่หาได้ในท้องถิ่นมาปรุงเป็นอาหารให้มี รสชาติอรอ่ ย ถูกปาก และเมื่อไดบ้ รโิ ภคแลว้ มสี ุขภาพแขง็ แรง และชว่ ยปอ้ งกันโรคบางโรคได ้ เปน็ สมุนไพร อาหารไทย นอกจากมีรสชาติอร่อย กลมกล่อม หลากหลายรส แต่ยังมีอัตลักษณ์ที่บ่งบอกถึงวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของคนไทย ในภูมิภาคนั้น ๆ อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวเอง และด้วยภูมิปัญญาอาหารไทยจึงได้มีความสมดุลทางโภชนาการ ไม่ว่าจะกินข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียวเป็นหลักตามแต่ละภาค บางภาคกินข้าวซ้อมมือที่มีคุณค่าทางอาหารสูง และกับข้าว ที่อยู่ในสำรับข้าวจะปรุงอย่างเรียบง่าย เช่น ต้ม ยำ ตำ แกง ปิ้ง เผา ผัด คั่ว ย่าง จะไม่มีขั้นตอนที่ยุ่งยาก สลับซับซ้อนและใช้เวลาในการทำน้อย จึงทำให้อาหารมีความสด ใหม่ หอม หวาน และใช้นํ้ามันน้อย และใช้เนื้อสัตว์ ในการปรุงอาหารไม่มากแต่จะใช้พืชผักพื้นบ้านเป็นหลักโดยได้แหล่งโปรตีนจากธรรมชาติ เช่น ทะเล แม่นํ้า ลำคลอง หรือการเลี้ยงสัตว์ในท้องถิ่น เครื่องปรุงล้วนเป็นพืชผักในท้องถิ่นและสมุนไพรในท้องถิ่น ด้วยวัตถุดิบจากธรรมชาติ ที่แตกต่างกันในแต่ละภาค อีกทั้งวิธีการปรุงที่แตกต่างกันในรายละเอียดทำให้เกิดความหลากหลาย แต่ก็ยังมี ความคล้ายคลึงกัน เช่น ภาคเหนือ ใช้ถั่วเน่า ภาคกลาง ใช้กะปิและนํ้าปลา ภาคใต้ ใช้กะปิและเกลือ สำหรับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้ปลาร้า ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับภูมิภาคนั้น ๆ ด้วย